จุลลสกราช ๑๓๗๖ พุทธสกราช ๒๕๕๗-๒๕๕๘
ปลีกาบสะง้า (ปีมะเมีย ฉศก)
ปกติมาส ปกติวาร ปกติสุรทิน
มังคลวุฒิกาลานุกาละ สังกรมสวัสตฺิ ศิริศุภมัสตุ จุลลสกราชได้ ๑๓๗๕ ตัว มะเส็งฉนำกัมโพชพิสัยในคิมหันตอ
ยามนั้น รวิสังกรมะ คือ พระสุริยอาทิตย์ ทรงวัตถาภรณ์เครื่องประดับอันขา
ขณะยามนั้น ยังมีนางเทวดาตนหนึ่งชื่อว่ามโน
ในวันสังกรานต์ไพนั้น จุ่งหื้อครูบาอาจารย์ เจ้านาย ท้าวพระญาเสนาอามาตย์ข้าราชการ ไพร่ ราษฎรทั้งมวลเอากันไพสู่โปกขรณี
เดือน ๗ ลงค่ำ ๑ พร่ำว่าได้วันอังคารที่ ๑๕ เมษายน พระพุทธสกราช ๒๕๕๗ วันไทรวายสีเปนวันปูติ คือวันเน่า ในวันเน่านั้น บ่ควรจักกะทำมังคลกัมส์สักอัน อย่าหื้อคนทั้งหลายมีใจขุ่นมัวก
เดือน ๗ ลง ๒ ค่ำ เปนวันพระญาวัน พร่ำว่าได้วันพุธที่ ๑๖ เมษายน พระพุทธสกราช ๒๕๕๗ วันไทเมืองใส้ ติถี ๑ นาทีติถี ๓๓ พระจันทร์จรณยุติโยด โสดเสด็จเข้าเทียวเทียมนักขัตตร
ปลีนี้ได้เศษ ๘ ชื่อพิณณวทกวัสสะ ปลีนี้วอกรักษาปลี หมาจิ้งจอกรักษาเดือน หมูรักษาป่า ปลาตีนรักษาน้ำ ตักกสิลยักข์รักษาอากาส กุมภัณฑ์รักษาแผ่นดิน ท้าวพณะญาเป็นใหย่แก่คนทั้งหลาย
ขวันเข้าอยู่ไม้เดื่อ หื้อเอาไม้เดื่อมาแปลงเปนคันเข้
นาคราชขึ้นน้ำ ๒ ตัว บันดาลหื้อฝนตก ๕๐๐ ห่า ชื่อ จันทาธิปติ จัดเปนตางได้ ๕ ตาง แลตางกว้างได้ ๖๐ โยชนะ เลิก็ ๓๐ โยชนะ จักตกในเขาสัตตปริภัณฑ์ ๒๔๗ ห่า ตกในป่าหิมพานต์ ๑๖๑ ห่า ตกในมนุสสโลกเขตเมืองคน ๙๒ ห่า เทวดาวางเครื่องประดับหนปัจฉิม คือ ทิสะหนวันตก บาปเคราะห์ตกหนพายัพ คือ ทิสะหนวันตกแจ่งเหนือ ปาปลัคนาตกหนอาคไนย์ คือ ทิสะหนวันออกแจ่งใต้ ในทิสะทัง ๓ นี้ กะทำมังคลกัมม์และอาบน้ำดำาหัวช
อตีตวรพุทธสาสนาคลาล่วงได้ ๒๕๕๖ พระวัสสา ปลาย ๑๑ เดือน ปลาย ๒ วัน นับแต่วันพระญาวันคืนหลัง อนาคตวรพุทธสาสนาจักมาพายหน้าบ่
(ดร.ยุทธพร นาคสุข เปนผู้วิสัชชนาปล่านแปลงแต่งแต้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น